Home ข้อคิด เมื่อ เ งิ น ที่เหลือเริ่มน้อย ล ง 6 เทคนิคการปรับตัว

เมื่อ เ งิ น ที่เหลือเริ่มน้อย ล ง 6 เทคนิคการปรับตัว

10 second read
ปิดความเห็น บน เมื่อ เ งิ น ที่เหลือเริ่มน้อย ล ง 6 เทคนิคการปรับตัว
0
494

1. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

อันดับแรกต้องทำบันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเองทุ กวัน ในแต่ละเดือนมีรายได้จากไหนบ้าง

พอใช้จ่ายหรือไม่หรือในแต่ละเดือนต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง เช่น ค่าใช้จ่ายในครอบครัว

ค่าเดินทาง ค่า อ า ห า ร ค่าโทรศัพท์

 

ค่าผ่อนชำระห นี้สินค้า ค่าใช้จ่ายสังสรรค์ แล้วรวมกันว่ามีค่าใช้จ่ายทั้งหมดเท่าไหร่

ใช้เงิ นไปกับอะไรมากที่สุด จำเป็นหรือไม่จำเป็นต่อชีวิต ถ้าไม่จำเป็นต้องเลิกหรือหยุดทันที

หากใครไม่เคยจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย

 

จะทำให้ไม่รู้ว่าในแต่ละเดือนมีการใช้จ่ายอะไรบ้าง และหมดไปกับอะไรบ้าง ดังนั้น เมื่อรู้ปัญหา

แล้วว่าเงิ นหมดไปกับอะไร หากเป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยที่สามารถประหยัดได้ ควรประหยัด

อย่ างจริงจัง

 

2. ตั้งสติเอาไว้ก่อน

ปรับเปลี่ยนพฤติกร รมของตนเอง หยุดก่อห นี้ หยุดสร้างห นี้เพิ่มโดยเด็ดข าด ไม่ว่าจะต้องลำบาก

ขนาดไหนที่สำคัญต้องหยุดหาห นี้ใหม่มาจ่ายห นี้เก่า เพราะจะทำให้เป็นห นี้แบบงูกินหาง

ไม่รู้จักจบ ต้องอยู่ให้ได้ด้วยเงิ นเดือนของตัวเอง

 

3. ห นี้สำคัญจ่ายก่อน

โดยเฉพาะห นี้ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ ส่วนห นี้บัตรเครดิต หรือห นี้สินเชื่อส่วนบุคคล ให้จ่ายเท่าที่จ่ายได้

โดยเลือกจ่ายห นี้ที่มี ด อ ก เ บี้ ย สูงก่อน และติ ดต่อขอประนอมห นี้ ขอผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน

และควรติ ดต่อเจ้าห นี้อยู่ตลอด อย่ าคิดหนีห นี้

 

4. สำรวจภาระห นี้สินที่มีอยู่

ควรแยกแบ่งประเภทห นี้สินที่มี แยกประเภทห นี้ จำนวนห นี้ อัตรา ด อ ก เ บี้ ย ที่ต้อง ชำ ร ะ อัตราขั้นต่ำ

ที่ต้องชำระ จากนั้นให้คำนวณยอดห นี้ทั้งหมดคำนวณรายได้ทั้งหมด เรียงลำดับยอดห นี้ที่สำคัญจากมาก

ไปหาน้อย

 

5. หาช่องทางสร้างรายได้เพิ่ม

ตามหลักความจริงแล้ว เมื่อเงิ นหมด ก็ต้องหาเพิ่ม เหมือนน้ำในตุ่มหมดก็ต้องตั กมาเพิ่ม ใครที่เป็นห นี้ เงิ น

ติ ดลบลองสำรวจตัวเองว่า มีของอะไรขายได้มีความสามารถอะไร หรือมองหาอาชีพเสริม

 

ที่พอสร้างรายได้ เช่น ทำกับข้าว ทำขนมขายหรือไม่ถ้ามีทักษะการขาย ก็หาซื้อสินค้าต่าง ๆ ไปขายตามตลาด

นัดหรือหากมีทักษะอื่น ๆ ก็ทำได้เลยครับ

 

6. เรียนรู้วิ ธีแก้ปัญหาห นี้

จ่ า ย ขั้นต่ำ เ พื่ อ รั ก ษ า บัญชีและเครดิต วิ ธีนี้เหมาะกับผู้ที่มีห นี้ไม่เยอะ อาจจะมีห นี้เพียง 2-3 บัญชี แนะนำให้

จ่ายขั้นต่ำตามใบเรียกเก็บเ งินหรือจ่ายให้มากกว่าขั้นต่ำสักเล็กน้อย

 

ที่สำคัญต้องมีวินัยในการผ่อนชำระ หากหมดภาระห นี้แล้วไม่ควรก่อห นี้ใหม่เพิ่มอีกเป็นอันข าด เพราะจะทำให้

มีห นี้ไม่หมดสิ้น มีแต่จะเพิ่มมากขึ้นขายทรัพย์สินที่ขายได้ออกไปเป็นเ งินสด เพื่อนำมาปิดห นี้ให้ได้มากที่สุด

 

หากมีห นี้สินมากให้เลือกปิดทีละรายการที่สามารถปิดห นี้ได้เพื่อให้เหลือจำนวนเจ้าห นี้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้

หากไม่สามารถทำได้หรือไม่มีทรัพย์สินที่สามารถขายเพื่อปลดห นี้ได้ ก็จะเข้าสู่กระบวนการของศาล

 

ในระหว่างนั้นแนะนำให้เก็บเงิ นให้มากที่สุดอย่ าได้หลงระเริงกับเงิ นที่มี ต้องเตรียมสะสมเงิ นเพื่อเคลียร์

ห นี้สินทั้งหมด

 

ขอบคุณที่มา : sabailey

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …